| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     ความยึดมั่นถือมั่นในกามคือยึดมั่นในรูปรสกลิ่นเสียงโผฏฐัพพะ(สัมผัส)เนื่องด้วยตัณหาความกำหนัดในสิ่งต่างๆเหล่านั้นด้วยอำนาจของกิเลสไม่รู้ด้วยอวิชชาว่าสังขารเหล่านั้นทั้งหลายทั้งปวงล้วนอยู่ภายใต้กฎพระไตรลักษณ์มีความไม่เที่ยงเป็นทุกข์เพราะทนอยู่ไม่ได้เป็นอนัตตาเป็นธรรมดาจึงควบคุมไม่ได้อย่างแท้จริง กามุปาทาน กามุปาทาน กามุปาทาน

     ความสงัดกายได้แก่การอยู่ในที่สงัดก็ดีดำรงอิริยาบถและเที่ยวไปผู้เดียวก็ดีค่ะกายวิเวก กายวิเวก กายวิเวก

     คำว่าคว่ำบาตรนั้นมีที่มาจากการที่พระสงฆ์ลงโทษบุคคลผู้มีปรารถนาร้ายต่อพระรัตนตรัยอย่างร้ายแรงซึ่งมีความผิดอยู่๘ประการค่ะคือ ๑ขวนขวายเพื่อมิใช่ลาภแก่สงฆ์๒ขวนขวายเพื่อมิใช่ประโยชน์แก่สงฆ์๓ขวนขวายเพื่อให้พระอยู่ไม่ได้๔ด่าว่าเปรียบเปรยภิกษุทั้งหลาย๕ยุยงให้สงฆ์แตกกัน๖ตำหนิติเตียนพระพุทธเจ้า๗ตำหนิติเตียนพระธรรม๘ตำหนิติเตียนพระสงฆ์ ฆราวาสผู้ใดมีพฤติกรรมดังกล่าวพระสงฆ์จะประชุมกันแล้วประกาศไม่ให้ภิกษุทั้งหลายคบค้าสมาคมด้วยการคว่ำบาตรในทางพระวินัยไม่ได้หมายถึงการคว่ำบาตรลงแต่หมายถึงการไม่รับบิณฑบาตไม่รับนิมนต์ไม่รับเครื่องใช้อาหารหวานคาวที่บุคคลผู้นั้นนำมาถวายแต่หากต่อมาคนผู้นั้นสำนึกรู้สึกตนกลับมาประพฤติดีคณะสงฆ์ก็จะประกาศเลิกคว่ำบาตรยอมให้ภิกษุทั้งหลายคบค้าสมาคมรับบิณฑบาตรับนิมนต์รับเครื่องถวายไทยธรรมได้เรียกว่าหงายบาตรเป็นสำนวนคู่กัน ดังนั้นการคว่ำและหงายบาตรจึงถือเป็นการลงโทษทางจารีตแบบหนึ่งที่พระสงฆ์ได้นิยมถือปฏิบัติสืบมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลเพื่อประโยชน์ในการตักเตือนและความอยู่โดยปกติสุขระหว่างพระสงฆ์และพุทธศาสนิกชน การคว่ำบาตร_(ศาสนาพุทธ) การคว่ำบาตร การคว่ำบาตร การคว่ำบาตร

     จักรรัตนะหรือจักรแก้วหัตถีรัตนะหรือช้างแก้วอัสสรัตนะหรือม้าแก้วมณีรัตนะหรือมณีแก้วอิตถีรัตนะหรือนางแก้วคหบดีรัตนะหรือขุนคลังแก้วและปริณายกรัตนะหรือขุนพลแก้ว แก้ว๗ประการ แก้ว๗ประการมี แก้ว๗ประการ จักรรัตนะ

     บุญกฐินหน่ะเหรอคะ ทอด ไม่ทอด ทอด บุญกฐิน หมายถึงทอดกฐินหน่ะเหรอ

     ปฐวีกสิณมีฤทธิ์ดังนี้เช่นเนรมิตคนๆเดียวให้เป็นคนมากๆได้ให้คนมากเป็นคนๆเดียวได้ทำน้ำและอากาศให้แข็งได้สามารถย่อแผ่นดินให้ใกล้กำลังการในเดินทางอาโปกสิณสามารถเนรมิตของแข็งให้อ่อนได้เช่นอธิษฐานสถานที่เป็นดินหรือหรือหินที่กันดารน้ำให้เกิดบ่อน้ำอธิษฐานหินดินเหล็กให้อ่อนอธิษฐานในสถานที่ขาดแคลนฝนให้เกิดมีฝนอย่างนี้เป็นต้นเตโชกสิณอธิษฐานให้เกิดเป็นเพลิงเผาผลาญหรือให้เกิดแสงสว่างได้ทำแสงสว่างให้เกิดแก่จักษุญาณสามารถเห็นภาพต่างๆในที่ไกลได้คล้ายตาทิพย์ทำให้เกิดความร้อนในที่ทุกสถานได้เมื่ออากาศหนาวสามารถทำให้เกิดความอบอุ่นได้วาโยกสิณอธิษฐานจิตให้ตัวลอยตามลมหรืออธิษฐานให้ตัวเบาเหาะไปในอากาศก็ได้สถานที่ใดไม่มีลมอธิษฐานให้มีลมได้นีลกสิณสามารถทำให้เกิดสีเขียวหรือทำสถานที่สว่างให้มืดครึ้มได้ปีตกสิณสามารถเนรมิตสีเหลืองหรือสีทองให้เกิดได้โลหิตกสิณสามารถเนรมิตสีแดงให้เกิดได้ตามความประสงค์โอทากสิณสามารถเนรมิตสีขาวให้ปรากฏและทำให้เกิดแสงสว่างได้เป็นกรรมฐานที่อำนวยประโยชน์ในทิพยจักขุญาณเช่นเดียวกับเตโชกสิณอาโลกสิณเนรมิตรูปให้มีรัศมีสว่างไสวได้ทำที่มืดให้เกิดแสงสว่างได้เป็นกรรมฐานสร้างทิพยจักขุญาณโดยตรงอากาสกสิณสามารถอธิษฐานจิตให้เห็นของที่ปกปิดไว้ได้เหมือนของนั้นวางอยู่ในที่แจ้งสถานที่ใดเป็นอับด้วยอากาศสามารถอธิษฐานให้เกิดความโปร่งมีอากาศสมบูรณ์เพียงพอแก่ความต้องการได้ค่ะ แต่ว่าอย่าไปติดเรื่องพวกนี้เนอะเพราะน่าจะมีเยอะอยู่แหละค่ะที่ติดตรงนี้กันก็เลยไม่พ้นบ่วงมารซักที กสิณ กสิณ กสิณ กสิณ บ่วงมาร

     ปุถุชนแปลว่าผู้มีกิเลสหนาค่ะคือคนปกติที่ยังมีกิเลสคนธรรมดาสามัญคนที่ยังมิได้บรรลุธรรมเป็นพระอริยะ กัลยาณปุถุชนหมายถึงคนธรรมดาที่มีกัลยาณธรรมประพฤติปฏิบัติดีงามมีคุณธรรมสูงได้แก่คนที่เรียกกันว่ามีศีลมีธรรมมั่นคงอยู่ในศีลในธรรมดำรงชีวิตด้วยการทำมาหากินอย่างสุจริตมีความซื่อสัตย์อดทนขยันหมั่นเพียรมีจิตใจงดงามเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ไม่เบียดเบียนผู้อื่นให้เดือดร้อน กัลยาณปุถุชนจัดเป็นบุคคลที่มีคุณธรรมสูงแม้จะมิได้เป็นอริยบุคคลแต่ได้รับความเคารพนับถือและยกย่องสรรเสริญจากบุคคลทั่วไป พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ กัลยาณปุถุชน กัลยาณปุถุชน กัลยาณปุถุชน กัลยาณปุถุชน

     มหาสถูปแห่งเกสเรียหรือที่ในปัจจุบันเรียกว่าเกสริยาเกสเรียเป็นสถานที่ตั้งของมหาสถูปพบใหม่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอินเดียสถานที่ประดิษฐานบาตรของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ทรงประทานแก่ชาววัชชีเมื่อครั้งพุทธกาลเกสเรียอยู่ในเขตพรมแดนของแคว้นวัชชีและมัลละต่อกันหรือรัฐพิหารในปัจจุบันแต่ไม่ใช่สถานที่แสดงกาลามสูตรดังที่เข้าใจกันเพราะสถานที่แสดงกาลามสูตรนั้นอยู่ในแคว้นโกศลแต่สถูปเกสเรียอยู่ในแคว้นวัชชีต่อกันกับพรมแดนแคว้นมัลละ เดิมมหาสถูปแห่งเกสเรียไม่เป็นที่รู้จักและไม่เป็นจุดสำหรับจาริกแสวงบุญของชาวพุทธแต่หลังจากกองโบราณคดีอินเดียได้ขุดค้นเนินดินใหญ่พบพระมหาสถูปโบราณที่มีความเส้นผ่านศูนย์กลางถึง๑๔๐๐ฟุตสูงถึง๕๑ฟุตโดยแต่เดิมอาจสูงถึง๗๐ฟุตซึ่งทำให้มหาสถูปโบราณที่ค้นพบใหม่นี้กลายเป็นมหาสถูปที่ใหญ่ที่สุดในอินเดียมีลักษณะคล้ายกับเจดีย์ชเวดากองและพระมหาสถูปบุโรพุทโธซึ่งทำให้มีผู้สันนิษฐานว่ามหาสถูปแห่งเกสริยานี้เป็นต้นแบบของมหาสถูปทั้งสองโดยมหาสถูปแห่งเกสเรียเป็นสถูปเดียวกับที่ปรากฏในบันทึกของพระถังซำจั๋งที่เคยจาริกแสวงบุญมายังสถานที่แห่งนี้ท่านได้กล่าวไว้ว่าสถานที่แห่งนี้เป็นที่ตั้งของพระมหาสถูปที่ประดิษฐานบาตรของพระพุทธองค์ที่พระพุทธเจ้าทรงประทานแก่ชาววัชชีเมืองไวสาลีที่ตามมาส่งเสด็จพระพุทธองค์เป็นครั้งสุดท้ายก่อนจะเสด็จไปยังเมืองกุสินาราเพื่อเสด็จดับขันธปรินิพพานเกสริยาในปัจจุบันอยู่ห่างจากกุสินาราประมาณ๑๒๐กิโลเมตรในเขตรัฐพิหารระหว่างทางจากเมืองไวสาลีไปยังเมืองกุสินารา มหาสถูปแห่งเกสเรีย มหาสถูปแห่งเกสเรีย เกสเรีย มหาสถูปแห่งเกสเรีย มหาสถูป

     หมายถึงทางแห่งกรรมดีทางทำดีทางแห่งกรรมที่เป็นกุศลกรรมดีอันเป็นทางนำไปสู่ความสุขความเจริญหรือสุคติเป็นธรรมส่วนสุจริต๑๐ประการจึงเรียกชื่อว่ากุศลกรรมบถ๑๐ค่ะ หมายถึงทางแห่งกุศลกรรมคือการกระทำที่นับว่าเป็นความดีได้แก่ ที่เป็นกายกรรมมี๓อย่างคือไม่ฆ่าสัตว์ไม่ลักทรัพย์ไม่ประพฤติผิดในกามที่เป็นวจีกรรมมี๔คือไม่พูดเท็จไม่พูดส่อเสียดไม่พูดคำหยาบไม่พูดเพ้อเจ้อที่เป็นมโนกรรมมี๓คือไม่โลภอยากได้ของเขาไม่พยาบาทปองร้ายเห็นชอบตามคลองธรรมหรือมีสัมมาทิฐิ กุศลกรรมบถก็คือสุจริตทางกายทางวาจาและทางใจนั่นเองกุศลกรรมบถหมวดนี้ในบาลีเรียกชื่อหลายอย่างเช่นว่าธรรมจริยาหรือความประพฤติธรรมโสไจยหรือความสะอาดหรือเครื่องชำระตัวอริยธรรมหรืออารยธรรมธรรมของผู้เจริญอริยมรรคหรือมรรคาอันประเสริฐสัทธรรมหรือธรรมดีธรรมแท้สัปปุริสธรรมหรือธรรมของสัตบุรุษ กุศลกรรมบถ กุศลกรรมบถ กุศลกรรมบถ กุศลกรรมบถ

     อ่านว่ากับปิยะการกแปลว่าผู้ทำให้เป็นกัปปิยะผู้ทำสิ่งที่สมควรให้แก่สมณะค่ะหมายถึงผู้ปฏิบัติภิกษุในเรื่องปัจจัย๔หรือหมายถึงลูกศิษย์ของภิกษุผู้จัดของที่สมควรถวายแก่ภิกษุผู้ทำหน้าที่ปฏิบัติดูแลภิกษุในเรื่องการขบฉันทั้งยังทำหน้าที่ช่วยเหลือภิกษุมิให้ต้องอาบัติหรือความผิดทางพระวินัยเช่นทำสิ่งที่เป็นอกัปปิยะอันไม่สมควรแก่สมณะให้เป็นกัปปิยะก่อนถวายเป็นต้นว่าปอกผลไม้ที่มีเปลือกหนาก่อนถวายไง พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ กัปปิยการก กัปปิยการก กัปปิยการก กัปปิยการก

     อ่านว่ากุสนละกำแปลว่ากรรมดีการกระทำของคนฉลาดหมายถึงบุญความดีความถูกต้องค่ะซึ่งให้ผลเป็นความสุขโดยส่วนเดียวการทำบุญการทำความดีเรียกว่าทำกุศลกรรมหรือเรียกย่อว่าทำกุศลก็ได้ค่ะ กุศลกรรมที่พระท่านแนะนำให้ทำเป็นประจำได้แก่ให้ทานเสียสละรักษาศีลอบรมจิตใจเจริญภาวนาเรียกย่อว่าบำเพ็ญทานศีลภาวนาก็ได้ค่ะซึ่งสามารถทำได้โดยบรรเทาความโลภความโกรธความหลงให้น้อยลงเพราะถ้ายังมีความโลภความโกรธความหลงเต็มจิตอยู่ก็ไม่สามารถทำกุศลกรรมอะไรได้อะค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ กุศลกรรม กุศลกรรม กุศลกรรม กุศลกรรม

     เกจิอาจารย์แปลว่าอาจารย์บางท่านอาจารย์บางพวก หลังพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้วพระสาวกได้รวบรวมคำสอนของพระองค์ไว้เป็นหมวดหมู่เรียกว่าพระไตรปิฎกต่อมามีภิกษุผู้เป็นนักปราชญ์ได้แต่งหนังสืออธิบายข้อความที่ยากในพระไตรปิฎกให้เข้าใจง่ายขึ้นเรียกภิกษุผู้แต่งหนังสือนั้นว่าพระอรรถกถาจารย์บ้างพระฎีกาจารย์บ้างและในหนังสือที่แต่งนั้นมักจะมีอ้างถึงความคิดเห็นของอาจารย์อื่นๆที่เห็นด้วยหรือเห็นแย้งกับผู้แต่งเรียกอาจารย์ที่ถูกอ้างถึงนั้นว่าเกจิอาจารย์ เกจิอาจารย์ในปัจจุบันถูกใช้ในความหมายที่ผิดไปจากเดิมคือใช้เรียกพระที่มีอาคมขลังทางปลุกเสกหรือพระที่ทรงวิทยาคุณทางกรรมฐานว่าพระเกจิอาจารย์หรือเรียกสั้นๆว่าพระเกจิ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ เกจิอาจารย์ เกจิอาจารย เกจิอาจารย์ เกจิอาจารย์

     เงินของเล่นค่ะกาโม่ เงิน เงิน ของเล่น

     เป็นวิธีทำกรรมฐานอย่างหนึ่งในอนุสสติ๑๐ค่ะคือการใช้สติไปรู้อวัยวะในร่างกายของตนเช่นผมขนเล็บฟันหนังฯลฯให้เห็นตามความเป็นจริงว่าเป็นของไม่งามปฏิกูลน่าเกลียดโสโครกไม่ควรยึดมั่นถือมั่นพิจารณาไปจนเห็นความจริงจิตยอมรับความจริงได้เกิดความเบื่อหน่ายคลายความกำหนัดยินดีในกายไม่ยึดมั่นถือมั่นกายต่อไปค่ะ กายคตาสติเมื่อระลึกถึงอยู่เนืองๆย่อมส่งผลให้หมดความยินดียินร้ายหมดภัยและความขลาดลงได้ใจวางอุเบกขาต่อทุกขเวทนาได้ส่งผลให้จิตใจสงบไม่ฟุ้งซ่านบรรเทาราคะและความยึดมั่นถือมั่นในกายถอนความเห็นผิดว่าสวยว่างามลงได้ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ กายคตาสติ กายคตาสติ กายคตาสติ กายคตาสติ

     ในสมัยพุทธกาลมีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของแคว้นวังสะ๑ในมหาชนบทในสมัยพุทธกาลเมืองนี้รุ่งเรืองจากการที่เป็นชุมนุมการค้าขายในสมัยโบราณปัจจุบันเมืองนี้เหลือเพียงซากโบราณสถานรูปโค้งพระจันทร์เสี้ยวริมฝั่งแม่น้ำยมุนาตั้งอยู่ที่หมู่บ้านโกสัมหรือหมู่บ้านหิสัมบาทตชนบทจังหวัดอัลลฮาบาตรัฐอุตตรประเทศของอินเดียตั้งอยู่ห่างจากตัวจังหวัดไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ๕๙กิโลเมตรเมืองนี้ได้เริ่มต้นทำการขุดค้นทางโบราณคดีโดยศาสตรจารย์จีอาร์ชาร์มาแห่งมหาวิทยาลัยอัลลาหบาตในปีพุทธศักราช๒๔๙๒และมีการสำรวจอีกครั้งในปีพุทธศักราช๒๔๙๔ถึงพุทธศักราช๒๔๙๙ปัจจุบันปรากฏหลักฐานที่ได้จากการสำรวจขุดค้นเป็นที่แน่นอนแล้วโดยยังคงมีซากกำแพงเมืองปรากฏให้เห็นอยู่และได้ค้นพบวัดโบราณที่สันนิษฐานว่าเป็นวัดโฆสิตารามมหาวิหารวัดที่สร้างขึ้นในสมัยพุทธกาลซึ่งมีการค้นพบบาตรดินโบราณพระพุทธรูปและโบราณวัตถุจำนวนมากภายในแหล่งขุดค้นเมืองโกสัมพีแห่งนี้โบราณวัตถุส่วนใหญ่ทางการอินเดียได้นำไปเก็บรักษาที่พิพิธภัณฑ์แห่งเมืองอัลลหบาต โกสัมพี เมืองโกสัมพี โกสัมพี เมืองโกสัมพี

     ขาทนียะอ่านว่าขาทะนียะแปลว่าของควรเคี้ยวของขบเคี้ยวใช้ว่าขัชชะก็ได้คืออาหารหรือของกินประเภทที่ใช้เคี้ยวกินได้แก่ผลไม้ใบไม้รากไม้หรือเหง้าประเภทมีหัวเช่นเผือกมันอาหารที่ทำด้วยแป้งข้าวที่ทอดหรืออบให้สุกเช่นขนมชนิดต่างๆรวมถึงของกินเล่นและขนมหวานประเภทลูกอมต่างชนิดเป็นต้นนิยมใช้คู่กับคำว่าโภชนียะซึ่งแปลว่าของควรบริโภคของกินอันได้แก่อาหารที่สำเร็จจากธัญชาติชนิดต่างๆเป็นต้นว่าข้าวสุกข้าวหลามเช่นใช้ว่าขาทนียโภชนียาหารพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ขาทนียะขาทนียะขาทนียะคัมภีร์ขันธกะของกิน

     ขีณาสพหรือกษีณาศรพกะสีนาสบแปลว่าผู้มีอาสวะสิ้นแล้วผู้สิ้นอาสวะแล้วหมายถึงพระอรหันต์ผู้หมดอาสวะแล้วเพราะกำจัดอาสวะคือกิเลสที่หมักหมมอยู่ในจิตที่ชุบย้อมจิตให้ชุ่มอยู่เสมอได้แล้วอย่างสิ้นเชิงไม่กลับมาเกิดทำอันตรายจิตได้อีกต่อไปเรียกเต็มว่าพระขีณาสพหรือพระอรหันตขีณาสพขีณาสพเป็นผู้ละอาสวกิเลสได้แล้วทั้ง๓อย่างคือ๑กามความติดใจรักใคร่ในกามคุณได้แก่รูปเสียงกลิ่นรสเป็นต้น๒ภพคือความติดอยู่ในภพในความเป็นนั่นเป็นนี่๓อวิชชาความไม่รู้จริงความลุ่มหลงมืดมัวด้วยโมหะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ขาทนียะขีณาสพ

     คฤหบดีแก้วหรือขุนคลังแก้วสามารถนำทรัพย์สินมาให้แด่พระเจ้าจักรพรรดิได้ขุมทรัพย์อยู่ที่ไหนก็เห็นไปหมดพระเจ้าจักรพรรดิขุนคลังแก้ว

     ความอดทนแบ่งตามเหตุที่มากระทบได้เป็น๔ประเภทคือ๑อดทนต่อความลำบากตรากตรำเป็นการอดทนต่อสภาพธรรมชาติดินฟ้าอากาศความหนาวความร้อน๒อดทนต่อทุกขเวทนาเป็นการอดทนต่อการเจ็บไข้ได้ป่วยความไม่สบายกายของเราเองความปวดความเมื่อย๓อดทนต่อความเจ็บใจเป็นการอดทนต่อความโกรธความไม่พอใจความขัดใจอันเกิดจากคำพูดที่ไม่ชอบใจกิริยามารยาทที่ไม่งามบางคนเพียงถูกคนโน้นกระทบทีคนนี้กระแทกทีเขาว่าหน่อยค่อนขอดนิดก็อึดอัดเจ็บใจบางคนทนต่อความเจ็บใจได้บ้างเพราะเขาเป็นผู้บังคับบัญชาของตนถึงจะทนไม่ได้ก็ต้องทนการทนอย่างนี้ได้ถือว่ายังไม่เรียกว่าขันติบางคนทนต่อความเจ็บใจต่อคำพูดของคนในระดับเดียวกันพรรคพวกเพื่อนฝูงในที่ทำงานเดียวกันได้ถือว่ามีขันติระดับปานกลางส่วนคนที่มีขันติจริงๆนั้นต้องทนต่อการกระทบกระเทียบเปรียบเปรยการทำให้เจ็บอกเจ็บใจจากคนใต้บังคับบัญชาหรือผู้ต่ำกว่าได้ในการทำงานนั้นเราต้องมีการติดต่อกับบุคคลหลายประเภทเพราะแต่ละคนมีการฝึกฝนตนเองต่างกันถ้าหากไม่มีขันติแล้วก็ไม่อาจจะทำงานให้ออกมาดีได้อย่างเป็นสุขทั้งบางครั้งยังอาจทำให้มีเรื่องเดือดร้อนมาสู่ตัวเองอีกด้วย๔อดทนต่ออำนาจกิเลสเป็นการอดทนต่ออารมณ์อันน่าใคร่น่าเพลิดเพลินใจอดทนต่อสิ่งที่เราอยากทำแต่ไม่สมควรทำในที่นี้มุ่งหมายถึงการไม่เอาแต่ใจตัวไม่ยอมปล่อยตัวตามกระแสโลกความเพลิดเพลินเช่นความสนุกสนานการเที่ยวเตร่ความฟุ้งเฟ้อต่างๆหรือการได้ผลประโยชน์ในทางที่ไม่ควรเป็นต้นกิเลสเป็นเชื้อโรคร้ายที่ฝังอยู่ในตัวเรามาตั้งแต่เกิดเวลามันกำเริบขึ้นมาจะคอยบีบคั้นบังคับให้เราทำความชั่วต่างๆโดยไม่มีความละอายแล้วพอเราไปทำเข้ากิเลสก็ทำให้เราได้รับทุกข์เป็นความเดือดร้อนมากมายเป็นเหตุให้เราต้องมานั่งตำหนิตนเองในภายหลังอบายมุขเป็นสิ่งเร้าภายนอกที่คอยกระตุ้นกิเลสให้กำเริบและลุกลามอยู่ภายในใจจนกลายเป็นนิสัยที่ไม่ดีหรือสันดานชั่วๆที่แก้ไขได้ยากบุคคลบางคนทนต่อความลำบากตรากตรำได้ทนต่อทุกข์เวทนาได้ทนต่อความเจ็บใจจากผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ที่ทนได้ยากที่สุดคือทนต่ออำนาจกิเลสหรือการอดทนต่อความอยากนั่นเองตัวอย่างเช่นผู้ชายบางคนทนแดดทนฝนทนได้สารพัดแม้ที่สุดเขาเอาเงินมาติดสินบนก็ไม่ยอมรับเอาปืนมาขู่จะฆ่าบังคับจะให้ทำผิดก็ไม่ยอมก้มหัวแต่พอเจอสาวๆสวยๆมาออดอ้อนออเซาะเอาใจเข้าหน่อยก็เผลอใจไปหมดทุกอย่างอะไรที่ผิดก็ยอมทำไม่ว่าจะผิดกฎหมายผิดศีลหรือผิดธรรมก็ตามถ้าหากเป็นเช่นนี้แล้วก็ยากที่จะสร้างตัวขึ้นมาได้ความอดทน

     คัมภีร์ขันธกะหรือขันธกะเป็นคัมภีร์หนึ่งในพระวินัยปิฎกเถรวาทมีเนื้อหาครอบคลุมพระไตรปิฎกเล่มที่๔ถึง๗ว่าด้วยบทบัญญัติต่างๆเกี่ยวกับความเป็นอยู่ของพระสงฆ์รวมถึงขนบธรรมเนียมพิธีกรรมสังฆกรรมวัตรปฏิบัติอาจาระมารยาทและความประพฤติโดยทั่วไปของพระสงฆ์เพื่อประโยชน์คือความงามในด้านอาจาระเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสงฆ์ขันธกะจัดเป็นพระวินัยฝ่ายอภิสมาจาริกาสิกขาซึ่งไม่ได้เป็นสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์การจัดแบ่งดังกล่าวเป็นการแบ่งของสมาคมบาลีปกรณ์ของอังกฤษซึ่งแบ่งพระวินัยปิฎกออกเป็นสามหมวดคือสุตตวิภังค์ขันธกะและปริวารคัมภีร์ขันธกะมีคัมภีร์อรรถกถาขยายความชื่อสมันตปาสาทิกาหรืออรรถกถาพระวินัยภาค๓และมีคัมภีร์ฎีกาขยายความอรรถกถาชื่อฎีกาสารัตถทีปนีหรือฎีกาพระวินัยภาค๔คัมภีร์ขันธกะมีเนื้อหารวม๒๒ขันธกะแบ่งเนื้อหาภายในคัมภีร์ขันธกะได้เป็นสองคือ๑มหาวรรคมี๑๐ขันธกะ๒จูฬวรรคมี๑๒ขันธกะพระธรรมปิฎก(ประยุทธ์ปยุตฺโต)"พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลธรรม"ขันธกะคัมภีร์ขันธกะขันธกะคัมภีร์ขันธกะพระวินัยปิฎก

     ปริณายกแก้วหรือขุนพลแก้วคือพระราชโอรสองค์โตของพระเจ้าจักรพรรดิเป็นขุนศึกคู่ใจเป็นบัณฑิตนักปราชญ์มีความฉลาดเฉลียวรู้สิ่งใดควรไม่ควรคอยให้คำแนะนำปรึกษาแด่พระเจ้าจักรพรรดิอยู่เสมอพระเจ้าจักรพรรดิขุนพลแก้ว

     สัตว์ผู้มีขันธ์๑ขันธ์คือหากยังไม่ตายก็จะมีแต่รูปไม่มีเวทนาไม่มีสัญญาไม่มีสังขารไม่มีวิญญาณก็พวกที่ได้ฌานสมาบัติแหละค่ะและเมื่อร่างกายสลายตายพังไปก็ไปเกิดเป็นอสัญญีพรหมหรือพรหมลูกฟักจิตสังขารดับลงแต่เมื่อหมดอำนาจการกดให้ดับไว้ก็กลับวนมาเกิดใหม่ได้ดังเดิมค่ะอริยะบุญอริยะปุญโญ?ขันธ์ขันธ์ขันธ์อสัญญีพรหม

     สัตว์ผู้มีขันธ์๔ขันธ์คือมีเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณได้แก่สัตว์นรกเปรตอสุรกายเทวดาอินทร์พรหมค่ะอริยะบุญอริยะปุญโญ?ขันธ์ขันธ์ขันธ์ไม่มีกาย



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ