| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     ก่อนที่จะมาเป็นโบสถ์ที่ถูกต้องตามพระวินัยจะต้องมีสังฆกรรมที่เรียกว่าผูกสีมาหรือผูกพัทธสีมาก่อนค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุโบสถอุโบสถ

     การถามอิ๊กคิวซัง

     ก็เป็นธรรมชาตินะคะว่าแต่ถ้าขณะที่ฝันเปียกมีสติรู้ตัวว่ากำลังทำไม่ดีแล้วก็พยายามไม่ทำสิ่งนั้นอันนี้สุดยอดค่ะเรียกมีสติแม้แต่ในความฝันฝันเปียก

     การจัดลำดับชั้นของพระอารามหลวงเริ่มมีขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อพศ๒๔๕๘ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้จัดระเบียบแบ่งชั้นพระอารามหลวงออกเป็นสามชั้นแต่ละชั้นยังแยกระดับออกไปอีกหลายระดับโดยมีสร้อยต่อท้ายชื่อวัดตามฐานะดังนี้พระอารามหลวงชั้นเอกได้แก่วัดที่มีเจดียสถานบรรจุพระบรมอัฐิหรือเป็นวัดที่มีเกียรติสูงมี๓ระดับคือชั้นเอกพิเศษชนิดราชวรมหาวิหารชนิดราชวรวิหารชนิดวรมหาวิหารพระอารามหลวงชั้นโทได้แก่วัดที่มีเจดียสถานสำคัญมี๔ระดับคือชนิดราชวรมหาวิหารชนิดราชวรวิหารชนิดวรมหาวิหารชนิดวรวิหารพระอารามหลวงชั้นตรีได้แก่วัดประจำหัวเมืองหรือวัดที่มีความสำคัญชั้นรองมี๓ระดับคือชนิดราชวรวิหารชนิดวรวิหารและชนิดสามัญซึ่งจะไม่มีสร้อยนามต่อท้ายพระอารามหลวงพระอารามหลวง

     การประกาศตนเป็นพุทธมามกะนั้นอาจจัดทำเป็นพิธีเหมือนการประกาศตนเป็นอุบาสกอุบาสิกาในสมัยพุทธกาลเรียกว่าพิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะนิยมทำกันในวาระดังนี้เมื่อเด็กมีอายุประมาณ๑๒ถึง๑๕ปีเมื่อจะส่งบุตรหลานไปศึกษาต่อยังต่างประเทศหรือไปในถิ่นที่ไม่มีพระพุทธศาสนาโรงเรียนจัดทำพิธีแก่นักเรียนที่เข้ามาศึกษาใหม่ในแต่ละปีเมื่อมีคนต่างศาสนาต้องการจะนับถือพระพุทธศาสนาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธมามกะพุทธมามกะพุทธมามกะพุทธมามกะผู้ถือว่าพระพุทธเจ้าเป็นของเรา

     ก็อย่างปฐมพุทธอุทานเป็นพระพุทธอุทานที่ทรงเปล่งออกเป็นคำประพันธ์ที่โคนต้นโพธิ์เป็นที่ตรัสรู้หลังการตรัสรู้ได้๗วัน"ยทาหเวปาตุภวนฺติธมฺมาอาตาปิโนฌายโตพฺราหฺมณสฺสอถสฺสกงฺขาวปยนฺติสพฺพายโตปชานาติสเหตุธมฺมํ"ซึ่งแปลว่า"ในกาลใดแลธรรมทั้งหลายมาปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีเพียรเพ่งอยู่ในกาลนั้นความสงสัยทั้งปวงของพราหมณ์นั้นย่อมสิ้นไปเพราะมารู้แจ้งธรรมพร้อมด้วยเหตุฯ"หมายความว่าบุคคลจะหลุดพ้นความสงสัยทั้งปวงได้เพราะรู้ที่มาของสาเหตุของปัญหานั่นก็คือทุกข์และสมุทัยหรือบุคคลจะหลุดพ้นได้เพราะมองทุกสิ่งโดยความเป็นจริงคือเพ่งพินิจอารมณ์ภายในจิตใจด้วยความเป็นจริงซึ่งจะทำให้ผู้เพ่งพินิจเข้าใจได้เองโดยธรรมชาติของจิตว่าความคิดทั้งปวงตกอยู่ในสามัญญลักษณะคือมีการแปรเปลี่ยนไปตลอดเมื่อรู้ได้เช่นนี้แล้วผู้เพ่งพินิจจะได้เข้าใจและไม่ยึดติดกับจิตใจอันหวั่นไหวต่อกิเลสและสามารถหลุดพ้นจากความต้องการอันเป็นสาเหตุแห่งทุกข์ทั้งปวงได้พระพุทธอุทานพระพุทธอุทานพระพุทธอุทานพระพุทธอุทานปฐมพุทธอุทาน

     การประพฤติชั่วด้วยใจเป็นการกระทำความชั่วทำความผิดทางใจคือด้วยการคิดจัดเป็นบาปมิใช่บุญก่อทุกข์โทษให้ทั้งในปัจจุบันและภพชาติต่อไป พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนทุจริต มโนทุจริต

     กำจัดได้ด้วยปัญญาคือใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นประจักษ์ในสิ่งนั้นๆค่ะ โมหะ โมหะ

     ก็ต้องมงคลชีวิต๓๘ประการสิค่ะมีอยู่เป็นมงคลแน่นอนค่ามงคลชีวิต มงคลชีวิต มงคลชีวิต มงคล๓๘ประการ

     การใช้ความคิดถูกวิธีความรู้จักคิดคิดเป็นคือกระทำในใจโดยแยบคายมองสิ่งทั้งหลายด้วยความคิดพิจารณารู้จักสืบสาวหาเหตุผลแยกแยะสิ่งนั้นนั้นหรือปัญหานั้นนั้นออกให้เห็นตามสภาวะและตามความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัยค่ะสัมมาทิฏฐิโยนิโสมนสิการโยนิโสมนสิการโยนิโสมนสิการโยนิโสมนสิการคิดเป็น

     ก็มองยาวยาวมองไกลไกลให้ครอบคลุมไปถึงชาตินี้ชาติหน้าชาติต่อต่อไปจนถึงนิพพานไปเลยหน่ะค่ะ อะไรยาว ยาว มองยาวยาว ชาติต่อไป

     การลาสิกขาของภิกษุเรียกว่าลาสิกขาไม่ใช่ลาสิกขาบทพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ลาสิกขาลาสิกขาลาสิกขาบท

     ก็ประมาณสอนให้ทำอย่างไรจึงจะมีความสุขทั้งในชาตินี้ชาติหน้าและชาติต่อต่อไปเมื่อยังตัวเขาตัวเราของเขาของเราอยู่หน่ะค่ะ โลกียะ โลกียะ โลกียะ ชาตินี้หน้า

     การงดเว้นจากการพูดเท็จงดเว้นจากการพูดส่อเสียดงดเว้นจากการพูดคำหยาบงดเว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ สัมมาวาจา วจีสุจริต วจีสุจริต วจีสุจริต งดเว้นการพูดเท็จ

     การเจริญวิปัสสนาตามแนวทางของสติปัฏฐานซึ่งเป็นแนวทางเดียวเท่านั้นที่สามารถจะชำระจิตของผู้ปฏิบัตืให้บริสุทธิ์หมดจดได้นำพาผู้ปฏิบัติให้พ้นทุกข์และบรรลุถึงพระนิพพานได้ผู้ปฏิบัติจะต้องชำระศีลของตนให้บริสุทธิ์เป็นเบื้องต้นด้วยการสมาทานและรักษาศีลตามความสามารถของตนเมื่อศีลบริสุทธิ์แล้วก็จะเกิดอารมณ์กรรมฐานได้ง่ายจิตเป็นสมาธิได้ง่ายซึ่งผลของการปฏิบัติมีดังนี้๑นามรูปปริจเฉทญาณ๒ปัจจัยปริคคหญาณ๓สัมมสญาณ๔อุทยัพพยญาณ๕ภังคญาณ๖ภยญาณ๗อาทีนวญาณ๘นิพพิทาญาณ๙มุญจิตุกัมยตาญาณ๑๐ปฏิสังขาญาณ๑๑สังขารุเปกขาญาณ๑๒อนุโลมญาณ๑๓โคตรภูญาณ๑๔มัคคญาณ๑๕ผลญาณ๑๖ปัจจเวกขณญาณ วิปัสสนา ผลของการปฏิบัติวิปัสสนา วิปัสสนา วิปัสสนา สติปัฏฐานชำระจิต

     การเรียนวิปัสสนากรรมฐานนั้นต้องเรียนศีลและสมาธิจนปฏิบัติได้มาก่อนหรืออาจเรียนไปพร้อมกันก็ได้ซึ่งอาจจัดช่วงของการเรียนตามมหาสติปัฏฐานสูตรอรรถกถาได้เป็น๒ช่วงใหญ่คือช่วงปริยัตติ๑อุคคหะคือการท่องเพื่อทำให้จำวิปัสสนาภูมิอันได้แก่ขันธ์อายตนะธาตุอินทรีย์อริยสัจปฏิจจสมุปบาทอาหารเป็นต้นได้โดยเลือกท่องเฉพาะส่วนที่สนใจก่อนก็ได้และต้องจำให้คล่องปากขึ้นใจพอที่จะคิดได้เองโดยไม่ต้องเปิดหนังสือ๒ปริปุจฉาคือการหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อให้ได้รายละเอียดของวิปัสสนาภูมินั้นๆเพิ่มซึ่งอาจจะสงสัยหรือติดขัดอยู่โดยอาจจะเปิดหนังสือค้นหรือไปสอบถามจากอาจารย์ผู้เชียวชาญชำนาญในสาขานั้นๆก็ได้๓สวนะคือการฟังหรืออ่านคำสอนของพระพุทธเจ้าในพระไตรปิฎกเพื่อทำความเข้าใจหลักธรรมะโดยรวมให้สามารถมองเห็นภาพรวมได้ชัดเจน๔ธารณะคือการจำธรรมะตามที่ได้อุคคหะปริปุจฉาสวนะมาได้เพื่อจะนำไปพิจารณาในช่วงปฏิบัติต่อไปช่วงปฏิบัติ๑สังวระคือการปฏิบัติศีล๒สมาปัตติคือการปฏิบัติสมาธิให้ได้อุปจาระหรืออัปปนา๓สัมมสนะคือการปฏิบัติวิปัสสนาคือพิจารณาปัจจัตตลักษณะและสามัญญลักษณะด้วยการคิดหน่วงเอาธรรมะที่ได้ปริยัตติมานั้นมาแยกแยะหาความสัมพันธ์กันด้วยปัจจัตลักษณะและเพ่งไตรลักษณ์ในธรรมะที่ได้ปริยัตติมานั้นอีกด้วยวิปัสสนาญาณซึ่งมีอีกชื่อหนึ่งว่าธัมมนิชฌานักขันติญาณในที่นี้เฉพาะสัมมสนะนี้เท่านั้นที่เป็นช่วงปฏิบัติวิปัสสนาสถานที่สำหรับเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามมหาสติปัฏฐานสูตรบรรยายไว้สามแห่งคือป่าโคนต้นไม้ที่ว่างเปล่าสุญญาคารหรือเรือนว่างแต่พึงทราบว่าตามกัมมัฏฐานคหณนิทเทสในวิสุทธิมรรคนั้นเนื่อจากท่านกล่าวอุปสรรคของวิปัสสนาให้มีแค่อย่างเดียวคือการฝึกทำฤทธิ์เดชมีการเหาะเหิรเดินอากาศเป็นต้นฉะนั้นวิปัสสนาจึงปฏิบัติได้ทุกที่แต่ที่ๆเหมาะสมที่สุดและควรจะหาให้ได้ก็คือป่าโคนไม้เรือนว่างห่างไกลคนโล่งๆนั่นเองเพราะจะทำให้ศีลและสมาธิดีกว่ามากมายยิ่งนักปัญญาก็จะกล้าขึ้นได้ไวไปด้วยเช่นกัน วิปัสสนากรรมฐาน การเรียนวิปัสสนากรรมฐาน วิปัสสนา

     การแต่งตั้งไวยาวัจกรเป็นอำนาจหน้าที่ของเจ้าอาวาสค่ะแต่วัดหนึ่งอาจมีไวยาวัจกรได้หลายคนนะคะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ไวยาวัจกร ไวยาวัจกร

     ก็มาเป็นวันอาสาฬหบูชานี่ไงคะ วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา วันที่พระรัตนตรัยครบบริบูรณ์ วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา

     การที่จะมองเห็นสิ่งทั้งหลายอย่างถูกต้องตามที่มันเป็นได้นั้นจะต้องใช้โยนิโสมนสิการคือขณะนั้นความนึกคิดดำริต่างๆจะต้องปลอดโปร่งมีอิสระไม่มีทั้งความชอบใจความยึดติดพัวพันและความไม่ชอบใจเป็นปฏิปักษ์ต่างๆด้วยนั่นคือจะต้องมีสัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะซึ่งองค์ประกอบทั้งสองอย่างนี้ส่งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกันค่ะ สัมมาสังกัปปะ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาสังกัปปะ โยนิโสมนสิการ

     การที่จะเป็นสังฆทานหรือไม่นั้นมีหลักสำคัญอยู่ที่การถวายสิ่งของเพื่อบำรุงสังฆบริษัทหรือตัวแทนแห่งสังฆบริษัทเพื่อประโยชน์ในด้านการไม่เลือกปฏิบัติและความเท่าเทียมด้านปัจจัยสี่ของพระสงฆ์นั่นเองมีข้อควรพิจารณาประการหนึ่งว่าในพระวินัยถือว่าภิกษุสงฆ์๔รูปขึ้นไปนับเป็นองค์สงฆ์แต่เมื่อพิจารณาจากเจตนาของพระพุทธเจ้าในทักขิณาวิภังคสูตรแล้วหากแม้จะเป็นพระภิกษุถึง๔รูปแต่เป็นพระที่ผู้ถวายเจาะจงระบุตัวมาก็หานับว่าเป็นสังฆทานไม่ค่ะ สังฆทาน สังฆทาน สังฆทาน สังฆทาน เพื่อบำรุงสังฆบริษัท

     การสวดฉันท์ทำนองสรภัญญะมีมานานตั้งแต่สมัยรัชกาลที่๔ก่อนหน้านั้นนิยมสวดฉันท์ภาษาบาลีมีเนื้อหาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและผู้สวดส่วนใหญ่เป็นพระสงฆ์ทำนองสรภัญญะไม่แพร่หลายนักต่อมาพระยาศรีสุนทรโวหารแปลบทสรรเสริญคุณต่างๆเป็นฉันท์ภาษาไทยเรียกคำนมัสการคุณานุคุณมี๕ตอนคือบทสรรเสริญพระพุทธคุณบทสรรเสริญพระธรรมคุณบทสรรเสริญพระสังฆคุณบทสรรเสริญมาตาปิตุคุณและบทสรรเสริญอาจาริยคุณตามลำดับบทประพันธ์นี้ได้รับความนิยมมากที่สุดในปัจจุบันใช้สวดกันโดยทั่วไปและเนื่องจากบาทแรกเริ่มว่าองค์ใดพระสัมพุทธจึงมักเรียว่าบทสวดองค์ใดพระสัมพุทธ สรภัญญะ สรภัญญะ สรภัญญะ สรภัญญะ รัชกาลที่๔

     การแบ่งเนื้อหาภายในคัมภีร์สุตตวิภังค์อาจแบ่งตามสิกขาบทของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ได้เป็นสองคือ๑มหาวิภังค์ว่าด้วยสิกขาบทมาในพระปาติโมกข์ของพระภิกษุสงฆ์๒ภิกขุณีวิภังค์ว่าด้วยสิกขาบทมาในพระปาติโมกข์ของพระภิกษุณีสงฆ์นอกจากนี้อาจแบ่งเนื้อหาในคัมภีร์สุตตวิภังค์ตามคัมภีร์วิชรสารัตถะสังคหะได้อีกแบบหนึ่งคือ๑อาทิกัมมิกะหรือปาราชิกว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับพระภิกษุสงฆ์ที่เป็นอาบัติหนักทั้งหมดตั้งแต่ปาราชิกถึงอนิยต๒ปาจิตตีย์ว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับพระภิกษุสงฆ์ที่เป็นอาบัติเบาตั้งแต่นิสสัคคิยปาจิตตีย์ถึงเสขิยวัตรรวมถึงเนื้อหาอาบัติของพระภิกษุณีสงฆ์ในภิกขุณีวิภังค์ทั้งหมด สุตตวิภังค์ สุตตวิภังค์

     กิจกรรมหรืองานที่ต้องทำเป็นสังฆกรรมได้แก่การทำปาฏิโมกข์การปวารณาการสมมุติสีมาการให้ผ้ากฐินการอุปสมบทเป็นต้น พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังฆกรรม สังฆกรรม สังฆกรรม สังฆกรรม



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ