| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     ตจปัญจกกรรมฐานอ่านว่าตะจะปันจะกะกำมะถานแปลว่ากรรมฐานที่มีหนังเป็นที่ครบห้าพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตจปัญจกกรรมฐานตจปัญจกกรรมฐานตจปัญจกกรรมฐานตจปัญจกกรรมฐานมีหนังเป็นที่ครบห้า

     ตถตาเป็นคำสรุปรวมของเรื่องปฏิจจสมุปบาทหรืออิทัปปัจจยตาซึ่งครอบโลกให้เหลืออยู่เพียงว่าตถตาเป็นอย่างนั้นซึ่งแบ่งย่อยออกเป็นดังนี้อวิตถตาไม่ผิดไปจากความเป็นอย่างนั้นอนัญญถตาไม่เป็นไปโดยประการอื่นจากความเป็นอย่างนั้นธัมมัฏฐิตตาเป็นความตั้งอยู่โดยความเป็นธรรมดาของธรรมชาติธัมมนิยามตาเป็นกฎตายตัวของธรรมดาทั้งหมดนี้มันยุ่งยากลำบากมากเรื่องไม่ต้องจำก็ได้จำคำว่าตถตาไว้คำเดียวพอแปลว่าเป็นเช่นนั้นเป็นเช่นนั้นเองการเห็นอนิจจังทุกขังอนัตตาคือเห็นเช่นนั้นเองหรือจะแยกออกไปเป็นว่ามันปรุงแต่งกันออกไปเป็นสายยาวเป็นปฏิจจสมุปบาทกระทั่งว่ามีอายตนะมีผัสสะมีเวทนามีตัณหามีอุปาทานมีทุกข์มันก็คือเช่นนั้นเองที่ต้องทุกข์ก็เพราะว่าเป็นเช่นนั้นเองอย่างนั้นขณะใดไม่ต้องทุกข์เพราะว่ามันเป็นเช่นนั้นเองอย่างนั้นฉะนั้นเรามีเช่นนั้นเองไว้เป็นเครื่องดับทุกข์เถอะอะไรเกิดขึ้นมาก็เห็นเป็นเช่นนั้นเองไว้ก่อนแล้วก็จะไม่รักจะไม่เกลียดจะไม่โกรธจะไม่กลัวไม่วิตกกังวลอะไรหมดเพราะมันเช่นนั้นเองถ้ามันเกิดทุกข์ขึ้นมาเราก็เห็นเช่นนั้นเองของความทุกข์แล้วก็หาเช่นนั้นเองของความดับทุกข์ที่มันเป็นคู่ปรปักษ์กันเข้ามาซี่เช่นนั้นเองอย่างนี้มันเป็นทุกข์เช่นนั้นเองที่มันดับทุกข์ก็เอาเข้ามามาฟัดกันกับเช่นนั้นเองเช่นนั้นเองกับเช่นนั้นเองมันก็ฆ่ากันเองในที่สุดความทุกข์มันก็ดับไปเพราะเรามีเช่นนั้นเองฝ่ายดับทุกข์หรือฝ่ายพระนิพพานพุทธศาสนาเรียนได้ในพริบตาเดียวก็ด้วยคำว่าเช่นนั้นเองหัวใจของปฏิจจสมุปบาทสรุปอยู่ที่คำว่าเช่นนั้นเองปฏิจจสมุปบาทคือคำสอนทั้งหมดในพระพุทธศาสนาคือสอนว่าทุกข์เกิดขึ้นอย่างไรและดับไปอย่างไรสมตามที่พระพุทธเจ้าท่านตรัสว่า"ฉันไม่พูดเรื่องอื่นฉันพูดแต่เรื่องความทุกข์และความดับทุกข์เท่านั้นเดี๋ยวนี้ก็ดีต่อไปข้างหน้าก็ดี"คือให้ความทุกข์และความดับทุกข์นี้มันรวมอยู่ในคำว่าเช่นนั้นเองเรียกว่าตถตาก็ได้ตถาตาก็ได้ตถาเฉยๆก็ได้หมายถึงสิ่งทั้งปวงเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติตามเหตุปัจจัยไม่มีใครสร้างใครบันดาลให้มีให้เกิดขึ้นแต่เป็นเช่นนั้นขึ้นมาเองปัจจัยสูตรพระไตรปิฎกเล่มที่๑๖ตถตาตถตา

     ตถาคตแปลได้หลายนัยค่ะคือแปลว่าผู้เสด็จมาอย่างนั้นผู้เสด็จไปอย่างนั้นผู้เสด็จมาสู่ลักษณะที่แท้ผู้ตรัสรู้ธรรมที่แท้จริงตามที่เป็นจริงผู้ทรงรู้เห็นอารมณ์ที่แท้จริงผู้มีพระวาจาที่แท้จริงผู้ตรัสอย่างไรทรงทำอย่างนั้นผู้ทรงครอบงำตถาคตตถาคตแปลว่าอะไร

     ตถาคตโพธิสัทธาเชื่อความตรัสรู้ของพระพุทธเจ้ามั่นใจในองค์พระตถาคตว่าเป็นพระสัมมาสัมพุทธะทรงพระคุณทั้ง๙ประการตรัสธรรมบัญญัติวินัยไว้ด้วยดีทรงเป็นผู้นำทางที่แสดงให้เห็นว่ามนุษย์คือเราทุกคนนี้หากฝึกตนด้วยดีก็สามารถเข้าถึงภูมิธรรมสูงสุดบริสุทธิ์หลุดพ้นได้ดังที่พระองค์ทรงบำเพ็ญไว้ตถาคตโพธิสัทธา

     ตทังควิมุตติคือการพ้นไปจากอำนาจของตัวกูของกูด้วยอำนาจของสิ่งที่บังเอิญประจวบเหมาะ

     ตบะแปลว่าความเพียรอันเป็นเครื่องเผาผลาญกิเลสพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตบะตบะ

     ตบะในที่ทั่วไปหมายถึงการบำเพ็ญเพียรเพื่อให้กิเลสเบาบางหดเหี้ยนหมดไปด้วยการทำพิธีกรรมหรือด้วยการทรมานกายแบบต่างๆเช่นบูชาไฟยืนขาเดียวทาตัวด้วยฝุ่นเป็นต้นเรียกว่าบำเพ็ญตบะเรียกผู้บำเพ็ญตบะว่าดาบสซึ่งแปลว่าผู้บำเพ็ญตบะคือเผาผลาญกิเลสตบะในพระพุทธศาสนาใช้หมายถึงธรรมต่างๆที่มุ่งกำจัดเผาผลาญอกุศลวิตกหรือความตรึกที่เป็นบาปอกุศลเป็นหลักเช่นปธานความเพียรขันติความอดทนศีลการรักษากายวาจาอุโบสถกรรมการรักษาอุโบสถศีลการเล่าเรียนปริยัติการถือธุดงค์การบำเพ็ญสมณธรรมและเรียกการประพฤติปฏิบัติธรรมเหล่านี้ว่าบำเพ็ญตบะเช่นกันพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตบะตบะ

     ตรัสรู้แปลว่ารู้แจ้งรู้อย่างแจ่มแจ้งรู้ชัดเจนใช้เป็นคำเฉพาะสำหรับพระพุทธเจ้าพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตรัสรู้ตรัสรู้ตรัสรู้ตรัสรู้รู้แจ้ง

     ตลกบาตรคือถุงใส่บาตรที่มีสายสำหรับคล้องบ่าเรียกว่าถลกบาตรก็มีเป็นคำเรียกรวมแต่เมื่อแยกส่วนออกจะมีส่วนประกอบคือสายโยกคือสายของตลกบาตรสำหรับคล้องบ่าและตะเครียวคือถุงตาข่ายที่ถักด้วยด้ายหรือไหมเป็นตาโปร่งมีหูรูดหุ้มตลกบาตรอีกชั้นหนึ่งเรียกว่าตะเครียวก็มีตลกบาตรปกติพระอุปัชฌาย์จะคล้องให้แก่พระบวชใหม่ในตอนทำพิธีบวชและพระส่วนใหญ่จะใช้เวลาออกบิณฑบาตพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตรัสรู้ตลกบาตร

     ตักศิลาหรือตักสิลาอ่านว่าตักกะสิลาในภาษาบาลีหรือตักษศิลาในภาษาสันสกฤตเป็นชื่อเมืองอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐปัญจาบเป็นมหาวิทยาลัยและเป็นศูนย์กลางของศิลปวิชาการในอดีตของอินเดียตั้งแต่ก่อนพุทธกาลมีสำนักอาจารย์ทิศาปาติโมกข์สั่งสอนศิลปวิทยาต่างๆแก่ศิษย์ที่มาเล่าเรียนในแถบดินแดนชมพูทวีปบุคคลสำคัญและมีชื่อเสียงหลายท่านที่สำเร็จการศึกษาจากที่แห่งนี้อาทิเช่นเช่นพระเจ้าปเสนทิโกศลหมอชีวกโกมารภัจจ์และองคุลีมาลตักศิลาเมืองตักศิลาตักศิลาเมืองตักศิลาศูนย์กลางของศิลปวิชาการ

     ตักศิลาได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่๔เมื่อปีพศ๒๕๒๓ที่กรุงปารีสประเทศฝรั่งเศสด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้วมีความคิดหรือความเชื่อที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์หรือมีความโดดเด่นยิ่งในประวัติศาสตร์ตักศิลาเมืองตักศิลาตักศิลาเมืองตักศิลานครหลวงแคว้นคันธาระ

     ตัณหา๖หมวดได้แก่รูปตัณหาคืออยากได้รูปที่มองเห็นด้วยตาสัททตัณหาคืออยากได้เสียงคันธตัณหาคืออยากได้กลิ่นรสตัณหาคืออยากได้รสโผฏฐัพพตัณหาคืออยากได้โผฏฐัพพะความรู้สึกทางกายสัมผัสธัมมตัณหาคืออยากในธรรมารมณ์สิ่งที่ใจนึกคิดความเกิดขึ้นความตั้งอยู่ความบังเกิดความปรากฏแห่งตัณหาทั้ง๖นี้เป็นความเกิดขึ้นแห่งทุกข์ความดับโดยไม่เหลือความสงบระงับความสูญแห่งตัณหาทั้ง๖นี้เป็นความดับโดยไม่เหลือแห่งทุกข์ตัณหาทั้ง๖นี้ไม่เที่ยงมีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดาผู้เห็นอยู่อย่างนี้ย่อมเบื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัดตัณหาตัณหา๖ตัณหา๖ตัณหาความเกิดขึ้นแห่งทุกข์

     ตาลปัตรของเดิมเป็นพัดที่ทำจากใบตาลหรือใบลานสำหรับพัดตัวเองเวลาร้อนหรือพัดไฟใช้กันทั้งพระและคฤหัสถ์ต่อมามีการต่อด้ามให้ยาวขึ้นและใช้บังหน้าเวลาทำพิธีทางศาสนาของพระสงฆ์เช่นในเวลาให้ศีลและให้พรและแม้ภายหลังจะใช้ผ้าสีต่างๆหุ้มลวดหรือไม้ไผ่ซึ่งขึ้นรูปเป็นพัดก็อนุโลมเรียกว่าตาลปัตรตาลปัตรปัจจุบันนิยมปักลวดลายศิลปะแสดงสัญลักษณ์ของงานและอักษรบอกงานพร้อมวันเดือนปีไว้ด้วยทำให้มีคุณค่าทางศิลปะขึ้นนอกเหนือจากวัตถุประสงค์เดิมตาลปัตรที่ใช้ทั่วไปเรียกว่าพัดรองเป็นคู่กับคำว่าพัดยศซึ่งเป็นพัดพระราชทานบอกตำแหน่งชั้นสมณศักดิ์จึงนิยมเรียกันว่าตาลปัตรพัดยศพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตาลปัตรตาลปัตรตาลปัตรตาลปัตรใช้บังหน้าเวลาทำพิธี

     ตาลปัตรอ่านว่าตาละปัดตามรูปศัพท์แปลว่าพัดใบตาลพัดใบลานพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตาลปัตรตาลปัตรตาลปัตรตาลปัตรพัดใบตาล

     ติสรณคมนูปสัมปทาไตรสรณคมนูปสัมปทาติสรณคมนอุปสัมปทาหรือไตรสรณคมนอุปสัมปทาแปลว่าการอุปสมบทด้วยการเข้าถึงไตรสรณะหมายถึงการบวชเป็นภิกษุโดยการรับไตรสรณคมน์หมายถึงการอุปสมบทเป็นภิกษุแบบหนึ่งในพระพุทธศาสนากล่าวคือในสมัยต้นพุทธกาลพระพุทธเจ้าประทานอุปสมบทเองเรียกว่าเอหิภิกขุอุปสัมปทาต่อมาทรงอนุญาตให้พระสาวกบวชกุลบุตรให้เป็นภิกษุได้โดยวิธีให้กุลบุตรนั้นรับไตรสรณคมน์เท่านั้นซึ่งการบวชแบบนี้สำเร็จได้โดยบุคคลคือพระสาวกรูปใดรูปหนึ่งก็สามารถบวชกุลบุตรได้ต่อมาทรงอนุญาตวิธีการอุปสมบทโดยสงฆ์คือให้ทำเป็นสังฆกรรมที่เรียกว่าแบบญัตติจตุตถกรรมวาจาจึงเลิกวิธีบวชพระแบบติสรณคมนูปสัมปทาแต่ทรงอนุญาตให้ใช้วิธีนี้บวชสามเณรซึ่งถือปฏิบัติกันมาตราบเท่าทุกวันนี้พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ติสรณคมนูปสัมปทาติสรณคมนูปสัมปทาติสรณคมนูปสัมปทาการบวชเป็นภิกษุโดยการรับไตรสรณคมน์

     ตู่พุทธพจน์จัดเป็นการกระทำที่ไม่เหมาะไม่ควรเป็นกรรมหนักคล้ายกับกล่าวตู่พระพุทธเจ้าด้วยคำไม่จริงไรงั้นเลยหล่ะค่ะหรือนำมาอ้างผิดๆถูกๆชื่อว่าตู่พุทธพจน์ได้ทั้งสิ้นเรียกการตู่พุทธพจน์แบบนี้อีกอย่างหนึ่งว่าจับใส่พระโอษฐ์พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตู่พุทธพจน์ตู่พุทธพจน์ตู่พุทธพจน์

     ตู่พุทธพจน์หมายถึงการอ้างพระพุทธพจน์ผิดๆถูกๆใช้เรียกการที่พูดหรือเขียนข้อความหรือข้อธรรมไปตามความคิดเห็นของตนเองแล้วอ้างว่านี่เป็นพระพุทธพจน์เป็นคำที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้จะอ้างด้วยไม่รู้ด้วยเข้าใจผิดหรือด้วยจงใจก็ตามหากข้อที่อ้างถึงนั้นมิใช่พระพุทธพจน์มิใช่พระดำรัสของพระพุทธเจ้าหรือใช่บ้างไม่ใช่บ้างหรือนำมาอ้างผิดๆถูกๆชื่อว่าตู่พุทธพจน์ได้ทั้งสิ้นเรียกการตู่พุทธพจน์แบบนี้อีกอย่างหนึ่งว่าจับใส่พระโอษฐ์พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ตู่พุทธพจน์ตู่พุทธพจน์ตู่พุทธพจน์

     ตอบวิสัชนาแปลว่าอะไร

     ตามเนื้อหาในพระสูตรมงคลของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ยึดถือวัตถุแต่ยึดถือการปฏิบัติฝึกฝนตนเองซึ่งมีอยู่๓๘ประการทั้งหมดจำแนกอยู่ในเนื้อหาโดยแบ่งเป็น๑๐หมวดดังนี้หมวดที่๑ไม่คบคนพาลคบบัณฑิตบูชาคนที่ควรบูชาหมวดที่๒อยู่ในถิ่นที่เหมาะสมมีบุญวาสนามาก่อนตั้งตนชอบหมวดที่๓เป็นพหูสูตมีศิลปะมีวินัยมีวาจาสุภาษิตหมวดที่๔บำรุงมารดาบิดาเลี้ยงดูบุตรสงเคราะห์ภรรยา(สามี)ทำงานไม่คั่งค้างหมวดที่๕บำเพ็ญทานประพฤติธรรมสงเคราะห์ญาติทำงานไม่มีโทษหมวดที่๖งดเว้นจากบาปสำรวมจากการดื่มน้ำเมาไม่ประมาทในธรรมหมวดที่๗มีความเคารพมีความถ่อมตนมีความสันโดษมีความกตัญญูฟังธรรมตามกาลหมวดที่๘มีความอดทนเป็นผู้ว่าง่ายเห็นสมณะสนทนาธรรมตามกาลหมวดที่๙บำเพ็ญตบะประพฤติพรหมจรรย์เห็นอริยสัจจ์ทำพระนิพพานให้แจ้งหมวดที่๑๐จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรมจิตไม่โศกจิตปราศจากธุลีจิตเกษมอย่างไรก็ตามแม้พระพุทธองค์จะทรงแสดงธรรมไว้ชัดเจนดีแล้วก็มีผู้ที่เชื่อบ้างไม่เชื่อบ้างจึงได้ส่งผลมาถึงปัจจุบันนี้แนวทางการยึดถือความเป็นมงคลจึงมีอยู่๒แนวทางคือมงคลจากการมีสิ่งนั้นมีสิ่งนี้และมงคลจากการฝึกตัว มงคลสูตร มงคลสูตร มงคลสูตร มงคลสูตร มี๓๘ประการ

     ตามพระวินัยพระสงฆ์รูปใดไม่เข้าจำพรรษาอยู่ณที่แห่งใดแห่งหนึ่งพระพุทธองค์ทรงปรับอาบัติแก่พระสงฆ์รูปนั้นด้วยอาบัติทุกกฎและพระสงฆ์ที่อธิษฐานรับคำเข้าจำพรรษาแล้วจะไปค้างแรมที่อื่นไม่ได้แต่ถ้าหากเดินทางออกไปแล้วและไม่สามารถกลับมาในเวลาที่กำหนดคือก่อนรุ่งสว่างก็จะถือว่าพระภิกษุรูปนั้นขาดพรรษาและต้องอาบัติทุกกฎเพราะรับคำนั้นรวมทั้งพระสงฆ์รูปนั้นจะไม่ได้รับอานิสงส์พรรษาไม่ได้อานิสงส์กฐินตามพระวินัยและทั้งยังห้ามไม่ให้นับพรรษาที่ขาดนั้นอีกด้วย วันเข้าพรรษา ประเพณีเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา อาบัติทุกกฎ

     ตามหลักการที่พระพุทธเจ้าและพระอรรถกถาจารย์ได้วางไว้เราสามารถทราบอารมณ์ของวิปัสสนาได้ด้วยการไล่ตามวิถีจิตไปตามกฎเกณฑ์และตามหลักฐานซึ่งจะพบว่ามีทั้งปรมัตถ์และบัญญัตติเป็นอารมณ์กล่าวคือเมื่อคิดถึงวิปัสสนาภูมิเช่นธรรมะ๒๐๑เป็นต้นตอนที่ทำวิปัสสนาอยู่ก็มีปรมัตถ์เป็นอารมณ์แต่เมื่อนึกถึงพระพุทธพจน์เช่นชื่อของธรรมะ๒๐๑หรืออาการของขันธ์เช่นไตรลักษณ์หรืออิริยาบถต่างๆเป็นต้นเป็นเครื่องกำหนดวิปัสสนาก็จะมีบัญญัติเป็นอารมณ์วิปัสสนาภูมิตามที่แสดงไว้ในวิสุทธิมรรคนั้นได้แก่ธรรมะ๒๐๑เป็นต้นเช่นขันธ์๕อายตนะ๑๒ธาตุ๑๘อินทรีย์๒๒อริยสัจ๔ปฏิจจสมุปบาท๑๒วิปัสสนาภูมิที่ยกมานี้ท่านเอามาจากพระไตรปิกเช่นจากสติปัฏฐานสูตรสังยุตตนิกายวิภังคปกรณ์เป็นต้นที่ทราบได้ว่าวิสุทธิมรรคยกมาพอเป็นตัวอย่างเพราะท้ายของวิปัสสนาภูมิทั้ง๖นี้มีอาทิศัพท์อยู่ด้วยฉะนั้นในปรมัตถมัญชุสาวิสุทธิมรรคมหาฎีกาจึงอธิบายอาทิศัพท์ว่าหมายถึงอาหาร๔เป็นต้นด้วยและกล่าวต่อไปอีกว่าให้ท่านผู้อ่านเทียบเคียงธรรมะหมวดอื่นๆตามนัยนี้ได้อีกในพระไตรปิฎกอรรถกถาและฎีกานั้นจะไม่มีการจำกัดให้วิปัสสนามีแต่ปรมัตถ์เป็นอารมณ์เพราะในคัมภีร์ชั้นอรรถกถาก็มีทั้งจุดที่ท่านแสดงให้วิปัสสนามีอารมณ์เป็นปรมัตถ์และเป็นบัญญัติก็มีส่วนมติว่าวิปัสสนามีอารมณ์เป็นปรมัตถ์เท่านั้นเป็นมติของอาจารย์ชาวพม่ารุ่นหลังซึ่งเชิญเข้ามาในสมัยของพระอาจารย์อาจอาสภมหาเถระมีอาจารย์เตชินและอาจารย์สัทธัมมโชติกะเป็นต้นในฝ่ายไทยเมื่อตรวจสอบตามสายวัดป่าก็พบว่าไม่มีข้อบัญญัติว่าวิปัสสนามีอารมณ์เป็นปรมัตถ์เท่านั้นมาแต่เดิมค่ะ วิปัสสนากรรมฐาน อารมณ์ของวิปัสสนา วิปัสสนา วิปัสสนา ปฏิบัติธรรมที่ใช้สติ

     ตามหลักพระพุทธศาสนาศรัทธาหรือสัทธาหมายถึงความเชื่อความเชื่อที่ประกอบด้วยเหตุผลค่ะศรัทธาในศาสนาพุทธศรัทธาศรัทธาศรัทธาความเชื่อที่ประกอบด้วยเหตุผล

     ตรงข้ามกับคำว่าอสัจซึ่งแปลว่าไม่จริงบิดพลิ้ว สัจจะ สัจจะ สัจจะ สัจจะ ตรงข้ามกับอสัจ



๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ